
เมื่อไม่นานมานี้ ได้เกิดเรื่องราวการพบเจอ น ก ประ ห ล า ด ที่พบเจอได้ย า กใน เ มื อ ง หลวงกรุงเทพมหานคร คาดกันว่า น ก ตัวใหญ่ดังกล่าวได้บิน อ พ ย พ ผ่านมายัง เ มื อ ง ไทย เเละมาอาศัยเกาะอยู่เพื่อดักจับพวก น ก พิราบเป็น อ า ห า ร ซึ่ง น ก พิราบจะพบได้เป็นจำนวนมากใน เ มื อ ง กรุงฯ
โดยทางผู้ใช้เฟซบุ๊ก Tanya Tanyarat โพสต์ภาพ น ก ตัวดังกล่าวที่บินมาเกาะที่ระเบียงคอนโด .. รบกวนถามหน่อยค่ะ เจ้าตัวนี้ น ก อะไรคะ (เพื่อนถ่ายจากระเบียงคอนโด) พิกัด กทม. แถวอารีย์ เห็นว่ามาบ่อยมาก ก่อนจะมีผู้คนมาคอมเมนต์ว่า น ก ตัวดังกล่าวมันไม่ใช่ น ก ธรรมดาทั่วๆไป มันมีชื่อว่าเหยี่ยวเพเรกริน นั่นเอง เป็นสุดยอดนักล่า
สำหรับข้อมูลจากวิกิพีเดียนั้น เหยี่ยวเพเรกริน เป็น น ก ที่บินได้เร็วมาก โดยทำความเร็วที่ได้ 321-563 กิโลเมตร/ชั่วโมง และทำความเร็วได้สูงที่สุดเมื่อพุ่งดิ่งลงจากที่สูง ถ้าบินระดับแนวนอนปกติ จะอยู่ที่ความเร็วประมาณ 80-90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เเต่หากดิ่งลงมาจากที่สูงสามารถทำความเร็วได้ถึง 89-57 เมตร/วินาที
นับเป็น น ก ที่บินได้เร็วที่สุดในโลก และสามารถเพิ่มความเร็วได้ขณะบินได้ถึง 130 ไมล์/ชั่วโมง ด้วยเวลาไม่ถึง 1 วินาที ซึ่งถือว่าเร็วกว่ารถสปอร์ต เ สี ย อีก และนับเป็น สั ต ว์ ที่มีความเร็วที่สุดในอาณาจักร สั ต ว์ ทั้งหมด
เหยี่ยวเพเรกรินตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ โดยเฉลี่ยมีขนาดลำตัวประมาณ 34-58 เซนติเมตร (13–23 นิ้ว) และเมื่อกางปีกจะกว้างได้ถึง 74-120 เซนติเมตร (29–47 นิ้ว) เป็น น ก ที่กระจายพันธุ์ได้กว้างไกลในหลายพื้นที่ของโลก ล่า น ก และ สั ต ว์ ต่าง ๆ กินเป็น อ า ห า ร โดยเฉพาะ น ก พิราบ มีความเเตกต่างกันออกไปของสีขนและ ลั ก ษ ณ ะ ขน ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นชนิดย่อยต่าง ๆ ได้ถึง 16 ชนิดเเต่โดยทั่วไป ส่วนหัวและเเถบหนวดดำตัดกับข้างแก้มและคอสี ข า ว เป็นเเถบใหญ่ สำหรับในประเทศไทย ชนิดย่อย F. p. japonensis มีลำตัวด้านบนเทาเข้ม
ลำตัวด้านล่าง ข า ว อกมีลายจุดเล็ก ๆ ลำตัวด้านล่างมีลายละเอียดต่อกันตามขวาง ขณะบินปีกกว้าง ปลายม น ก ว่าชนิดอื่น ๆ ใต้ปีก ข า ว มีลายดำหนาแน่นที่ขนคลุมใต้ปีก ชนิดย่อย F. p. peregrinator ลำตัวด้านล่างแกมน้ำตาลแดง และชนิดย่อย F. p. ernesti พบในพื้นที่ภาคใต้ มีแก้มสีดำ หัวและลำตัวสีคล้ำมาก อกค่อนข้างเรียบ มีลายขวางหนาแน่นที่ท้องทำให้ลำตัวด้านล่างเป็นสีดำ
ขอบคุณที่มาข้อมูล ให้ความรู้