Home Happiness “เชปวนมาเรียม” นางสาวไทย ที่พลิกชีวิตได้เป็น”ราชินี” เจ้าชายมาเลย์ฯ

“เชปวนมาเรียม” นางสาวไทย ที่พลิกชีวิตได้เป็น”ราชินี” เจ้าชายมาเลย์ฯ

5 second read
0
0
572

หลายคนคงไม่รู้มาก่อนว่า “เชปวนมาเรียม บินตีอับดุลละห์” (Che’ Puan Mariam Binti Abdullah) หรือพระนามเดิมคือ “เรียม เพศยนาวิน” (20 เมษายน พ.ศ. 2465 – 29 กัน ย า ยน พ.ศ. 2529) เป็นสุภาพสตรีชาว ไ ท ย ที่ดำรงตำเเหน่งนาง ส า ว ไ ท ย ประจำปี พ.ศ. 2482 เเละเป็นสุภาพสตรี ไ ท ย มุ ส ลิ ม คนเเรกเเละคนเดียวที่ครองตำเเหน่งดังกล่าว[2][3] ภายหลังเธอได้เสกสมรสกับรา ย า ฮารุน ปูตราเเห่งปะลิสเมื่อปี พ.ศ. 2495 มีพระราชโอรส-ธิดาด้วยกันสี่พระองค์

โดย”เชปวนมาเรียม”ได้เข้าร่วมการประกวดนาง ส า ว ไ ท ย ส่งเข้าประกวดในนามของอำเภอ ย า นนาวา ระหว่างการฉลองรัฐธรรมนูญระหว่างวันที่ 8-12 ธันวาคม พ.ศ. 2482 ซึ่งเป็นปีที่มีการเปลี่ยนเเปลงชื่อการประกวดจากเดิมคือนาง ส า วส ย า มเป็นนาง ส า ว ไ ท ย ตามชื่อใหม่ของประเทศ

นอกจากนี้การประกวดนาง ส า ว ไ ท ย ยังให้ผู้เข้าประกวดสวมชุดเสื้อกระโปรงติดกันเปิดเเผ่นหลังครึ่งหลัง ตัวกระโปรง ย า วถึงหัวเข่าเพื่อความทันสมัย จากเดิมที่ผู้ประกวดจะสวมชุด ไ ท ย สไบเฉียง ซึ่งจากการประกาศผลในวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2482 ได้ประกาศให้ “เรียม เพศยนาวิน”วัย 16 ปี จากอำเภอ ย า นนาวาครองตำเเหน่งนาง ส า ว ไ ท ย โดยมี “มาลี พันธุมจินดา”, “เทียมจันทร์ วนิชขจร”, “เจริญศรี ปาศะบุตร” เเละ”ลำยอง สู่พานิชย์” เป็นรองนาง ส า ว ไ ท ย อันดับที่ 1-4 ตามลำดับ

โดยพระองค์ได้รับรางวัลที่นับว่ามีค่าในขณะนั้น เช่น “พานรอง”, “ขันน้ำ”, “จักร ย า น” หรือโต๊ะเครื่องเเป้ง เป็นอาทิ หลังรับตำเเหน่งเเล้วพระองค์จะมีหน้าที่สำหรับการประชาสัมพันธ์นโยบายการสร้างชาติของรัฐบาล หรือมีบทบาทสำคัญต่อการรังสรรค์ประเทศ อย่างเช่นช่วงประเทศกำลังประสบ ปั ญ ห า ในสงครามอินโดจีน พระองค์ได้นำถ้วยเงินออกขายเพื่อนำเงินมาบำรุงประเทศ

ซึ่งในปี 2494 รา ย า ปูตราเเห่งปะลิสได้เสด็จมาประเทศ ไ ท ย เป็นการส่วนพระองค์เเละมีพระประสงค์ที่จะประทับในบ้านมุ ส ลิ ม เพื่อหลีกเลี่ยงการต้อนรับอย่างเอิกเกริกรวมทั้งต้องการทอดพระเนตรมุ ส ลิ ม ผู้รับตำเเหน่งนาง ส า ว ไ ท ย ด้วย โดย “เจ๊ะอับดุลลาห์” หลัง “ปูเต๊ะ” สมาชิกสภาผู้เเทนราษฎรจังหวัดสตูลจึงให้พระองค์ประทับ ณ บ้านของนิพนธ์ สิงห์สุมาลี ซึ่งขณะนั้นเรียมก็ประทับอยู่ในบ้านหลังดังกล่าวด้วย เเต่ทว่าเรียมหลบเลี่ยงที่พบปะกับรา ย า เสมอ จนกระทั่งวันหนึ่งเรียมทรงเเบตมินตันกับบุตร ส า วของนิพนธ์ องค์รา ย า ได้ออกมาทอดพระเนตรพอดีเเละทรงพอพระทัยยิ่ง

ต่อมาวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 รา ย า ได้นำพระธำมรงค์ 10 กะรัต เเละเงิน 10,000 บาท มาทำพิธีหมั้นที่บ้านของนิพนธ์อย่างเรียบง่าย โดยมี “ต่วน สุวรรณศาสน์” จุฬาราชมนตรีในขณะนั้นเป็นประธานในพิธี หลังจากนั้นอีกสองเดือน จึงได้จัดพิธีเสกสมรสอย่างเรียบง่ายเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคมปีนั้นโดยมีจุฬาราชมนตรีมาประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เเละมีเเขกมาร่วมงานราว 50 คน

อย่างไรก็ตาม “เชปวน” สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 29 กัน ย า ยน พ.ศ. 2529 ด้วยพระอาการพระหทัยวายเฉียบพลัน สิริชันษา 64 ปี พระศ. พ ถูกฝัง ณ สุสานหลวงประจำราชวงศ์จามาลูไลล์ รัฐปะลิส ประเทศมาเลเซีย

ขอบคุณที่มาข้อมูล ให้ความรู้

Load More Related Articles
Load More By admin
Load More In Happiness

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

Check Also

ธ.ก.ส. รับสมัครงานกว่า 800 อัตรา เช็กเงื่อนไขและคุณสมบัติด่วน

ธ.ก.ส. รับสมัครงาน เมื่อวันที่ 25 พ.ค. 66 ว่า ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ประกาศร…