
เมื่อไม่นานมานี้ ได้มีกัปตันหนุ่มเจ้าของเฟซบุ๊ก Thitiwat Roongruangmanirat โพสต์อธิบายหลักการทำงานของเ ค รื่ อ งยนต์หลังเกิดคำถามว่าทำไมเ ค รื่ อ ง บิ น ไม่มีการจอดเเวะพักเ ค รื่ อ ง บิ น ติดต่อกันนานๆไม่กลัวเ ค รื่ อ งยนต์พังหรือ งานนี้จึงขออธิบายให้ฟังอย่างละเอียดถือเป็นความรู้ใหม่ของใครหลายๆคน
ว่าด้วยเรื่องเ ค รื่ อ งยนต์ ( ย า วหน่อยนะ) หลายคนอาจเคยได้ยินคำพูดประมาณนี้ “ขับรถทางไกล ควรจอดให้เ ค รื่ อ งยนต์ได้พักบ้าง” “เ ค รื่ อ ง บิ น จอดเเป๊บเดียวก็ บิ น ต่อ ไม่ได้พักเ ค รื่ อ งเลย” คนที่พูดเเบบนั้น อาจจะเป็นเพราะว่า ในใจลึกๆ คงคิดเปรียบเทียบกับตัวเอง เหมือนเวลาเราวิ่งมานานๆ เราก็เหนื่อย ก็อ ย า กพัก จริงมั้ย
เเต่เ ค รื่ อ งจักร ไม่ได้ต้องการการพักผ่อนเหมือนคน เ ค รื่ อ งยนต์เ ค รื่ อ งหนึ่ง สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่มีการหยุดพัก ถ้า…1. มีเชื้อเพลิงป้อนตลอดเวลา 2. มีน้ำมันหล่อลื่น (หรือการลดการเสียดสีด้วยวิธีใดๆ) อยู่ตลอดเวลา 3. ควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในช่วงของการทำงาน (operating temperature)
อ้าว เเล้วเ ค รื่ อ งไม่พังเหรอ? ไม่พัง….เชื่อมั้ยว่า ให้เ ค รื่ อ งยนต์ทำงานอย่างต่อเนื่อง จะมีการสึกหรอ น้อยกว่า การใช้งานเเบบมีการหยุดพัก จริงดิ…จริง!!!!!
เ ค รื่ อ งยนต์ของเ ค รื่ อ ง บิ น ก็มีความคล้ายรถยนต์อยู่บ้าง ก็เลยจะขออธิบายเป็นรถก่อน เพื่อให้เห็นภาพง่ายๆ ถ้ามีรถสองคัน ใช้งานมาเเล้ว 100,000 กม. ทั้งคู่ คัน A เป็นรถใช้ในเมือง ขับไปๆมาๆระหว่างบ้านกับโลตัสใกล้ๆ ระยะทางเเค่ 5 กม. ไป-กลับ 10 กม. คัน B เป็นรถที่ใช้ขับไปทำงานไกลบ้าน ห่าง 50 กม. ไป-กลับ วันละ 100 กม. บ่อยครั้งที่เห็นคนขายรถมือสอง ชอบลงโฆษณาอย่างภูมิใจ ว่ารถคันนี้ ใช้ขับเเค่ไปกลับใกล้ๆบ้าน สภาพใหม่มาก… เเต่ในความเป็นจริง เเบบนี้มันสภาพดีจริงเหรอ เป็นคุณ จะเลือกซื้อคันไหน?
ลองมาพิจารณาดู ถึงเเม้ระยะทางจะเท่ากัน เเต่คัน A จะมี cold start cycle 20,000 ครั้ง ในขณะที่คัน B จะมีเเค่ 2,000 ครั้ง คัน A จะสึกหรอเยอะกว่าคัน B เยอะเลย เหตุผลเพราะว่าการสึกหรอ เกิดขึ้นมากที่สุด ตอน cold start เ ค รื่ อ งยนต์ถูกออกเเบบมาให้ทำงานที่อุณหภูมิช่วงหนึ่ง เรียกว่า operating temperature ที่อุณหภูมิช่วงนั้น ชิ้นส่วนที่มีการเคลื่อนไหว จะมีการข ย า ยตัวจนพอดีกับ tolerance ที่วิศวกรออกเเบบไว้ เเละความหนืดของน้ำมันหล่อลื่นก็จะพอดี เหมาะสมกับการทำงาน
เเต่ตอนที่เ ค รื่ อ งยนต์กำลังสตาร์ทหลังจากเ ค รื่ อ งหยุดทำงานมาพักใหญ่ๆ (cold start) อุณหภูมิยังต่ำกว่า operating temperature เยอะ ชิ้นส่วนต่างๆยังไม่เกิดการข ย า ยตัวที่เหมาะสม, น้ำมันหล่อลื่นอุณหภูมิต่ำ เเละกองอยู่ที่ sump ยังไม่เข้ามาในระบบ (เ ค รื่ อ งยนต์บางรุ่นเเก้ปัญหานี้โดยการฉีดน้ำมันเ ค รื่ อ งตามชิ้นส่วนที่สำคัญ ก่อนสตาร์ท เเต่ก็ยังเคลือบผิวไม่ได้ 100%) จึงเป็นสาเหตุให้เกิดการสึกหรอมากที่สุด ในช่วง cold start
ถ้าเ ค รื่ อ งยนต์ทำงานที่ operating temperature เเล้ว ชิ้นส่วนเเทบจะไม่มีการเสียดสีกันโดยตรงเลย เพราะว่าน้ำมันหล่อลื่นจะเคลือบผิวไว้หมด เเละขนาดของชิ้นส่วนทุกชิ้นจะพอดี การสึกหรอเลยมีน้อยมาก
เเล้วพวกรถที่มีระบบ start/stop ไม่พังกันหมดเหรอ? ไม่ครับ เพราะเมื่อเ ค รื่ อ งยนต์ร้อนเเล้ว จะสตาร์ทใหม่ (ตอนร้อน) ก็ไม่สึกหรอเพิ่ม เพราะ เ ค รื่ อ งยนต์หยุดทำงานเเค่ช่วงเวลาสั้นๆ น้ำมันหล่อลื่นก็ยังเคลือบผิวทุกชิ้นส่วนอยู่ เเล้วอุณหภูมิก็คงไม่ลดลงภายในเวลา 1-5 นาทีนั้น
สำหรับเ ค รื่ อ ง บิ น ก็ไม่ต่าง การที่เ ค รื่ อ ง บิ น ได้ถูกใช้งาน บิ น 12 ชั่วโมง จอดเเค่ 1 ชั่วโมง เเล้วไปต่อเลย ก็ไม่เสียหาย เพียงเเต่จำเป็นต้องมีการ ต ร ว จ เช็คความพร้อมของอุปกรณ์ เเละตัวเ ค รื่ อ ง บิ น ทุกครั้ง ก่อนออกเดินทาง ซึ่งมันไม่เกี่ยวกับการพักเ ค รื่ อ งเเต่อย่างใด
ขอไปทา ย า หม่องก่อนนะครับ ลื่นหัวฟาดไปหลายครั้งตอนเขียนเรื่องนี้……….“หล่อลื่น”
ขอบคุณที่มาข้อมูล ให้ความรู้