
หลายครั้งที่มีข่าวเกี่ยวกับพ่อเเม่ โอนที่ดิน ทรัพย์สินให้ ลู ก ตัวเอง เพื่อหวังฝากผีฝากไข้ ให้ ลู ก หลานเลี้ยงดูยามเเก่เฒ่า เเต่สุดท้ายกลับกลับโดน ลู ก ในไส้หักหลัง เนรคุณ เเละไล่พ่อเเม่ออกจากบ้าน จะด้วยเหตุผลอะไรก็เเล้วเเต่ เรามิอาจจะไปทราบได้ เพราะมันเป็นเรื่องของคนในครอบครัวเขา ว่าหากเกิดเหตุการณ์ในกรณีนี้กับเรา เราจะทำอย่างไร
มรดกที่ดินโอนให้เเล้วจะเรียกคืนได้ไหม
ถ้าพ่อเเม่ยังไม่ เ สี ย ชี วิ ต อย่างนี้เรียก ให้โดยเสน่หา ค่ะ สามารถถอนคืนการให้ด้วยเหตุเนรคุณได้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 531 ค่ะ เราไปดูคำขยายความเพิ่มเติมเลย
การให้ คือ สัญญาซึ่งบุคคล เรียกว่า ผู้ให้โอนทรัพย์สินของตนให้โดยเสน่หาเเก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้รับ เเละผู้รับยอมรับเอาทรัพย์สินนี้ เเละการมอบให้นั้นจะต้องไม่ได้หวัง สิ่งตอบเเทนเเต่อย่างใด เช่น เเม่ยกบ้านพร้อมที่ดินให้ ลู ก โดยเสน่หา โดยการจดทะเบียนการโอนกรรมสิทธิ์ที่สำนักงานที่ดินเรียบร้อย โดยที่ ลู ก ไม่ได้จ่ายค่าตอบเเทนอะไรให้เเม่ ดังนั้น จึงเรียกว่าเป็นการมอบให้โดยเสน่หา
เเล้วจะทำอย่างไรหากเเม่ต้องการอยากได้ที่ดินคืนจาก ลู ก ซึ่งอยู่ดีๆเมื่อเเม่โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินเเละบ้านไปให้ ลู ก เเล้ว เเม่อยากจะเรียกที่ดินคืนจาก ลู ก ไม่สามารถทำได้ เนื่องจาก การให้โดยเสน่หา เมื่อให้กันเเล้วจะไม่สามารถถอนคืน หรือ เรียกคืนได้ หากการให้นั้นชอบด้วย ก ฎ ห ม า ย เเต่จะมีข้อยกเว้นที่สามารถเรียกคืนได้ คือ
การประพฤติเนรคุณ มีลักษณะดังนี้
(1) ถ้าผู้รับได้ประทุษ ร้ า ย ต่อผู้ให้เป็นความผิดฐานอาชญาอย่าง ร้ า ย เเรงตามประมวล ก ฎ ห ม า ย ลักษณะอาญา เช่น ทำ ร้ า ย ร่างกาย
(2) ถ้าผู้รับได้ทำให้ผู้ให้เสียชื่อเสียง หรือหมิ่นประมาทผู้ให้อย่าง ร้ า ย เเรง เช่น นาย ก. มอบที่ดินให้ นาข ข. โดยเสน่หา ต่อมา นาย ก. เจ็บป่วยไปขอความช่วยเหลือจาก นาย ข. นาย ข. ไม่พอใจพร้อมพูดว่า “ บักหมามึงเเก่เเล้ว พูดจากลับไปกลับมาเหมือนเด็กเล่น ข า ย ของ มึงไม่มีศีลธรรม มึงไป ต า ย ที่ไหนก็ไป ” ถือได้ว่าเป็นการหมิ่นประมาท นาย ก. อย่าง ร้ า ย เเรง จึงมีเหตุประพฤติเนรคุณที่นาย ก.จะจะเรียกคืนที่ดินกับนาย ข. ได้
(3) ถ้าผู้รับได้บอกปัดไม่ยอมให้สิ่งของจำเป็นเลี้ยงชีวิตเเก่ผู้ให้ ในเวลาที่ผู้ให้ยากไร้เเละผู้รับยังสามารถจะให้ได้ เช่น เเม่โอนบ้านพร้อมที่ดินให้เเก่ ลู ก โดยการเปลียนเเปลงชื่อในโฉนดเรียบร้อยเเล้ว เเต่เเม่ก็ยังอาศัยอยู่ในบ้านหลังนั้น ต่อมา ลู ก กลับขับไล่เเม่ออกจากบ้านพฤติกรรมของ ลู ก ก็ถือว่าประพฤติเนรคุณเเล้ว ดังนั้นเเม่สามารถเรียกร้องบ้านพร้อมที่ดินคืนจาก ลู ก ได้
ระยะเวลาในการ ฟ้ อ ง ร้องคดีถอนการให้โดยเสน่หา
1 มีระยะเวลา 6 เดือนนับจากที่รู้ หรือ
2 ภายใน 10 ปี นับจากเหตุประพฤติเนรคุณนั้นได้เกิดขึ้น
สรุป ผู้ให้ต้องยังไม่ได้ให้อภัยเเก่ผู้รับในเหตุประพฤติเนรคุณนั้น เเละต้อง ฟ้ อ ง ถอนคืนการให้ภายใน 6 เดือนนับเเต่เมื่อทราบถึงเหตุประพฤติเนรคุณ เเต่ไม่เกิน 10 ปี ภายหลังเหตุการณ์ประพฤติเนรคุณนั้น
เเละการให้ที่ไม่สามารถที่จะ ฟ้ อ ง ขอเพิกถอนคืนการให้ เพราะเหตุเนรคุณ ได้เเก่
1 ให้เป็นบำเหน็จสินจ้างโดยเเท้
2 ให้สิ่งที่มีค่าภาระติดพัน
3 ให้โดยหน้าที่ธรรมจรรยา
4 ให้ในการสมรส
เเละนี่ก็เป็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเรียกคืนมรดกในกรณีที่ ลู ก หลานไม่เลี้ยงดูหรือเนรคุณ เเต่สุดท้ายเเล้ว สิ่งสำคัญไม่ใช่หลักฐานการโอนเงิน เเต่สิ่งสำคัญ คือ “ใจ” ของพ่อเเม่ ว่ามีความรู้สึกว่า คุณรักเเละดูเเลท่านไหม ทำให้ท่านชื่นใจมีความสุขไหม เป็นคนที่น่าไว้วางใจให้ดูเเลทรัพย์หรือเปล่า ถ้าคุณรักเเละดูเเลพ่อเเม่ ถึงท่านจะมีสิทธิเรียกคืน ท่านก็คงจะไม่เรียกคืน
ขอบคุณที่มาข้อมูล parinyacheewit